แผนการฝึกอบรม ระยะเวลา 3 ปี

4-23 กุมภาพันธ์ 2557

การฝึกอบรบปีที่ 1 ครั้งที่ 1 ระยะเวลาการอบรม 20 วัน

ภาคบรรยาย: หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช พื้นฐานทางอณูพันธุศาสตร์ และการใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการปรับปรุงพันธุ์พืช ภาคปฏิบัติ: การตรวจสอบหาโมเลกุลเครื่องหมายดีเอ็นเอที่จะใช้ใน Marker-assisted selection (MAS) และการตรวจสอบลูกผสมชั่วที่ 1 (F1)
2.1. วิธีการวิเคราะห์ดีเอ็นเอ (DNA extraction, Principal of handling molecular marker analysis, DNA marker development and PCR)
2.2. ตรวจสอบหาโมเลกุลเครื่องหมายที่จะใช้ใน MAS และการตรวจสอบลูกผสม F1
2.3. Assignments (1. Crossing to produce BC1F1 2. plant type selection of the F2 plants)
อ่านทั้งหมด

ภาพการอบรม ครั้งที่ 1
ดูภาพกิจกรรม
1 - 31 กรกฏาคม 2557

การฝึกอบรบปีที่ 1 ครั้งที่ 2 ระยะเวลาการอบรม 30 วัน

ภาคบรรยาย:
การสืบหาตำแหน่งของยีน หรือ QTL ที่ควบคุมลักษณะที่สนใจในจีโนมข้าว การพัฒนาโมเลกุลเครื่องหมายดีเอ็นเอสำทำ MAS และความเข้าใจในการใช้ข้อมูลตำแหน่งยีนในการปรับปรุงพันธุ์
ภาคปฏิบัติ:
การตรวจสอบจีโนไทป์ในรุ่น BC1F1 และ F2 โดย MAS มีขั้นตอน ดังนี้
2.1. DNA extraction
2.2. PCR and Gel electrophoresis
2.3. Visualization by Silver staining
2.4. Scoring and DNA analysis
2.5. Selection and planing for BC2F1

Assignments (1. Crossing to produce BC2F1 2. plant type selection of the BC1F2 plants) อ่านทั้งหมด

ภาพการอบรม ครั้งที่ 2
ดูภาพกิจกรรม
20 มกราคา - 26 กุมภาพันธ์ 2558

การฝึกอบรบปีที่ 2 ครั้งที่ 3 ระยะเวลาประมาณ 30 วัน

ภาคบรรยาย:
หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช 
การปรับปรุงพันธุ์แบบผสมเดี่ยวและแบบผสมกลับโดยใช้การคัดเลือกด้วยโมเลกุลเครื่องหมายดีเอ็นเอ (Marker assisted selection in single-cross and backcross breeding) พันธุศาสตร์และกลไกควบคุมการทนทานต่อสภาพแวดล้อมวิกฤต (น้ำท่วมฉับพลัน ข้าวขึ้นน้ำ ทนแล้ง และ ทนเค็ม)
ภาคปฏิบัติ:
การตรวจสอบจีโนไทป์ในรุ่น BC2F1 และ BC1F2 โดย MAS มีขั้นตอน ดังนี้

2.1. DNA extraction
2.2. PCR and Gel electrophoresis
2.3. Visualization by Silver staining
2.4. Scoring and DNA analysis
2.5. Selection and planing for PY-F1
Assignments
(1. Crossing to produce PY-F1 2. plant type selection of the BC2F2 plants)
อ่านทั้งหมด

ภาพการอบรม ครั้งที่ 3
ดูภาพกิจกรรม
1 - 29 กรกฏาคม 2558

การฝึกอบรบปีที่ 2 ครั้งที่ 4 ระยะเวลา 30 วัน

ภาคบรรยาย: เ
ทคโนโลยีโมเลกุลเครื่องหมายดีเอ็นเอในการใช้ทางการเกษตร (ตรวจสอบและวินิจฉัยโรค การปลอมปน ความบริสุทธิ์ และลักษณะทางพันธุกรรม) ชนิดและการตรวจสอบโรคข้าวที่สำคัญ รวมทั้งพันธุศาสตร์และกลไกควบคุมความต้านทานโรคในข้าว (โรคขอบใบแห้ง และโรคไหม้)

ภาคปฏิบัติ:
การตรวจสอบจีโนไทป์ในรุ่น PY-F1 และ BC2F2 โดย MAS มีขั้นตอน ดังนี้

2.1 DNA extraction
2.2 PCR and Gel electrophoresis
2.3 Visualization by Silver staining
2.4 Scoring and DNA analysis
2.5 Selection and planing for PY-F2
Assignment
(plant type selection of PY-F2)
อ่านทั้งหมด ดูภาพกิจกรรม
27 มกราคม - 27 กุมภาพันธ์ 2559

การฝึกอบรบปีที่ 3 ครั้งที่ 5 ระยะเวลา 30 วัน

ภาคบรรยาย:
หลักการใช้โมเลกุลเครื่องหมายดีเอ็นเอในการรวมลักษณะต่างๆ ไว้ด้วยกัน (Marker assisted gene or QTL pyramiding) ชนิดและการตรวจสอบแมลงศัตรูข้าวที่สำคัญ รวมทั้งพันธุศาสตร์และกลไกควบคุมความต้านทานแมลงในข้าว

ภาคปฏิบัติ:
การตรวจสอบจีโนไทป์ในรุ่น PY-F2 โดย MAS มีขั้นตอน ดังนี้

2.1 DNA extraction
2.2 PCR and Gel electrophoresis
2.3 Visualization by Silver staining
2.4 Scoring and DNA analysis
2.5 Selection and planing for PY-F3
Assignment (plant type selection of PY-F3)
อ่านทั้งหมด
ดูภาพกิจกรรม
กรกฏาคม 2559

การฝึกอบรบปีที่ 3 ครั้งที่ 6 ระยะเวลา 25 วัน

ภาคบรรยาย:
 การประเมินความก้าวหน้าในการคัดเลือกโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมาย ดีเอ็นเอ (Validation of genes or QTL pyramiding) และความแม่นยำในการคัดเลือก 
ภาคปฏิบัติ:
 PY-F3 validation ในลักษณะปรากฏที่คัดเลือก ได้แก่ การทนต่อน้ำท่วมฉับพลัน ความต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง และความต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล - Complete - Thank you

 



“การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล”    

ทำการฝึกอบรมจำนวน 6 ครั้ง ตลอดระยะเวลา 3 ปี