Print

กำหนดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในโครงการ

“การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล ปีที่ 1 ครั้งที่ 1”

 


การอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามแผนโครงการวิจัย “การพัฒนาสายพันธุ์ข้าวนาชลประทานให้ทนต่อน้ำท่วมฉับพลัน ต้านทานโรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก” ที่ใช้เป็นแหล่งศึกษา การฝึกอบรมจะเป็นแบบต่อเนื่อง โดยมีการเรียนรู้ทั้งทางภาคทฤษฎีและปฏิบัติ


การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 การตรวจสอบหาเครื่องหมายโมรายละเอียดแผนการจัดฝึกอบรม (เฉพาะปีที่ 1)
การอบรมประชุมเชิงปฏิบัติการ ตามแผนโครงการวิจัย “การพัฒนาสายพันธุ์ข้าวนาชลประทานให้ทนต่อน้ำท่วมฉับพลัน ต้านทานโรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก” ที่ใช้เป็นแหล่งศึกษา การฝึกอบรมจะเป็นแบบต่อเนื่อง โดยมีการเรียนรู้ทั้งทางภาคทฤษฎีและปฏิบัติ


การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 1 การตรวจสอบหาเครื่องหมายโมเลกุลที่จะใช้ใน Marker-assisted selection (MAS) และการตรวจสอบลูกผสมชั่วที่ 1 (F1) และบางกลุ่มในรุ่น BC1F1 และ F2


การประชุมเชิงปฏิบัติ เรื่อง การวางแผนการพัฒนาพันธุ์ข้าวโดยใช้ Marker Assisted Backcrossing หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์พืช และพื้นฐานด้านเทคโนโลยีดีเอ็นเอ ระยะเวลาในการฝึกอบรม 25 วัน โดยรายละเอียดทั้งภาคบรรยาย และปฏิบัติ มีดังตารางที่ 4

เลกุลที่จะใช้ใน Marker-assisted selection (MAS) และการตรวจสอบลูกผสมชั่วที่ 1 (F1) และบางกลุ่มในรุ่น BC1F1 และ F2
การประชุมเชิงปฏิบัติ เรื่อง การวางแผนการพัฒนาพันธุ์ข้าวโดยใช้ Marker Assisted Backcrossing หลักการปรับปรุงพันธุ์พืช พันธุศาสตร์พืช และพื้นฐานด้านเทคโนโลยีดีเอ็นเอ ระยะเวลาในการฝึกอบรม 25 วัน โดยรายละเอียดทั้งภาคบรรยาย และปฏิบัติ มีดังตารางที่ 4

 

 

วันอังคารที่ 4 กุมภาพันธ์ 2557

วันและเวลา

กิจกรรม/หัวข้อบรรยาย

ผู้รับผิดชอบ

09.00 – 9.30

ชี้แจงภาพรวมและแผนการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา

09.30 – 10.00

แนะนำการปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ และคณะวิทยากร

ดร.วัชรีวรรณ แจ่มบุญศรี

10.00 – 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 – 12.00

เตรียมตัวอย่างใบข้าว และตัดใบข้าวสำหรับสกัดดีเอ็นเอ 

คณะผู้ฝึกอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 14.30

ตัดตัวอย่างใบข้าวสำหรับสกัดดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

ตัดตัวอย่างใบข้าวสำหรับสกัดดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

วันพุธที่ 5 กุมภาพันธ์ 2557

09.00 - 09.10

พิธีเปิดการฝึกอบรม

ดร.กัญญวิมว์ กีรติกร,
 ดร.สุวัฒน์ เจียระคงมั่น

09.10 - 10.30

การบรรยาย หัวข้อ หลักการปรับปรุงพันธุ์พืชแบบมาตรฐาน

ศ.ดร. พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์

10.30 - 11.00

รับประทานอาหารว่าง

 

11.00 - 12.00

การบรรยาย หัวข้อ หลักการปรับปรุงพันธุ์พืชแบบมาตรฐาน (ต่อ)

ศ.ดร.พีระศักดิ์  ศรีนิเวศน์

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 15.00

การบรรยาย หัวข้อ อนาคตข้าว และยุทธศาสตร์งานวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวไทย

ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา

15.00 - 15.30

รับประทานอาหารว่าง

 

15.30 - 17.00

การบรรยาย หัวข้อ อณูพันธุศาสตร์โมเลกุลสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช

ผศ. ดร. สุรีพร  เกตุงาม

วันพฤหัสบดีที่ 6 กุมภาพันธ์ 2557

08.30 - 10.00

การบรรยาย หัวข้อ แหล่งพันธุกรรม และ ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช: Mutants and mutated gene

ดร.วัชรีวรรณ แจ่มบุญศรี

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การบรรยาย หัวข้อ แหล่งพันธุกรรม และ ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช: สายพันธุ์จำเพาะ และ QTL (Quantitative Trait Loci)

นายมีชัย เซี่ยงหลิว

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 14.30

การบรรยาย หัวข้อ แหล่งพันธุกรรม และ ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช: Germplasm and association mapping

ดร. โจนาลิซา แอล เซี่ยงหลิว

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การบรรยาย หัวข้อ แหล่งพันธุกรรม และ ข้อมูลทางพันธุศาสตร์ที่ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช: GMO and constructed genes

ผศ.ดร.ชเนษฎ์ ม้าลำพอง

วันศุกร์ที่ 7 กุมภาพันธ์  2557 

08.30 - 10.00

การบรรยาย หัวข้อ หลักการปรับปรุงพันธุ์พืชโดยใช้โมเลกุลเครื่องหมายช่วยในการคัดเลือก

ผศ. ดร. สุรีพร  เกตุงาม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การบรรยาย หัวข้อ การใช้โมเลกุลเครื่องหมายช่วยในการคัดเลือกในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวในประเทศไทย

ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 – 14.30

การบรรยาย หัวข้อ โรคข้าวที่สำคัญในประเทศไทย (เชื้อสาเหตุ การระบาด การควบคุม และ การทดสอบความต้านทาน)

ดร.พากเพียร อรัญนารถ

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การบรรยาย หัวข้อ ความหลากหลายทางพันธุกรรมของเชื้อ กลไกของยีนต้านทาน และการใช้เพื่อการปรับปรุงพันธุ์

ดร.นงลักษณ์ เภรินทวงค์

วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์  2557

08.30 - 9.30

การบรรยาย หัวข้อ การสกัดดีเอ็นเอจากใบข้าว

นางสาวกฤตยา สายสมัย

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การสกัดดีเอ็นเอในตัวอย่างใบข้าว

คณะผู้ฝึกอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

การสกัดดีเอ็นเอในตัวอย่างใบข้าว

คณะผู้ฝึกอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การสกัดดีเอ็นเอในตัวอย่างใบข้าว

คณะผู้ฝึกอบรม

วันจันทร์ที่ 10 กุมภาพันธ์  2557 

08.30 - 10.00

การสกัดดีเอ็นเอในตัวอย่างใบข้าว

คณะผู้ฝึกอบรม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การตรวจสอบปริมาณและคุณภาพดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

การตรวจสอบปริมาณและคุณภาพดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การตรวจสอบปริมาณและคุณภาพดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

วันอังคารที่ 11 - 13 กุมภาพันธ์  2557

08.30 - 10.00

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

วันศุกร์ที่ 14 วันเสาร์ที่ 15 วันจันทร์ที่ 17 และวันอังคารที่ 18 กุมภาพันธ์  2557

08.30 - 10.00

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

วันพุธที่ 19 และวันพฤหัสบดีที่ 20  กุมภาพันธ์ 2557

08.30 - 10.00

การตรวจสอบขนาดแถบดีเอ็นเอเป้าหมาย

คณะผู้ฝึกอบรม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

การตรวจสอบขนาดแถบดีเอ็นเอเป้าหมาย

คณะผู้ฝึกอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

การตรวจสอบขนาดแถบดีเอ็นเอเป้าหมาย

คณะผู้ฝึกอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

การตรวจสอบขนาดแถบดีเอ็นเอเป้าหมาย

คณะผู้ฝึกอบรม

วันศุกร์ที่ 21 กุมภาพันธ์  2557

08.30 - 10.00

รวบรวมข้อมูลจีโนไทป์

ผู้เข้ารับการอบรม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

วิเคราะห์ข้อมูลจีโนไทป์และคัดเลือกต้นข้าว

ผู้เข้ารับการอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

เขียนรายงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

เขียนรายงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

วันเสาร์ที่ 22 กุมภาพันธ์ 2557

08.30 - 10.00

นำเสนอผลงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

10.00 - 10.30

รับประทานอาหารว่าง

 

10.30 - 12.00

นำเสนอผลงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

12.00 – 13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13.00 - 14.30

ปรับแก้ไขรายงานตามข้อเสนอแนะ

ผู้เข้ารับการอบรม

14.30 - 15.00

รับประทานอาหารว่าง

 

15.00 - 17.00

ปรับแก้ไขรายงานตามข้อเสนอแนะ

ผู้เข้ารับการอบรม