เมื่อวันที่ 3-5 เมษายน 2560 การประชุม เรื่องเดินหน้าประเทศไทยกับงานวิจัยด้านพืช
ณ ห้องออดิทอเรียมชั้น 1 ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย

 

วันที่ 3 เมษายน 2560

 


 

 

 

วันที่ 4 เมษายน 2560



 

 

 


วันที่ 5 เมษายน 2560



 

 

 






 

 

กำหนดการติดตามความก้าวหน้าในโครงการ “พัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล”

(ภายใต้โครงการความร่วมมือการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวนาชลประทานให้ทนต่อน้ำท่วมฉับพลัน ต้านทานโรคขอบใบแห้ง

และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก)

วันที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2559 ณ ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี

วันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ศูนย์วิจัยข้าวอุบลราชธานี

ระหว่างวันที่ 16-20 พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ศูนย์วิจัยข้าวคลองหลวง ศูนย์วิจัยข้าวนครราชสีมา

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก และศูนย์วิจัยข้าวแพร่

สรุปการบรรยาย

 

การอบรม ครั้งที่ 5" ระหว่างวันที่ 27-29 มกราคม 2559

ณ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม

*********************

 

           
ดร
.ธีรยุทธ ตู้จินดา ห้องปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ ได้กล่าวเปิดการประชุม และแนะนำโครงการ "การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล" ว่ามีเป้าหมายเพื่อพัฒนานักปรับปรุงพันธุ์ข้าวรุ่นใหม่ให้มีความรู้       ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าวโดยการประยุกต์ใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก (marker-assisted selection) ร่วมกับการปรับปรุงพันธุ์แบบมาตรฐาน (conventional breeding) เป็นการฝึกอบรมแบบต่อเนื่องที่มีการเรียนรู้ทั้งทางภาคทฤษฏี และปฏิบัติ ปีละ 2 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 ปี (ปี 2557- 2559) โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) (สวก.) การจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการฯ ครั้งนี้ เป็นครั้งที่ 5 ระหว่างวันที่ 27 มกราคม - 27 กุมภาพันธ์ 2559 ณ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จ.นครปฐม

กำหนดการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ

“การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล ครั้งที่ 1/2559”

วันที่ 27-29 มกราคม 2559

ณ ห้องประชุมเอกลักษณ์ข้าวไทย ชั้น 1

หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม

 

 

 

การเดินทางติดตามการดำเนินงานหลังการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2/2558

เพื่อให้การดำเนินงานของโครงการเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และความเข้าใจที่ตรงกันระหว่างผู้รับการอบรม และผู้ฝึกอบรม จึงได้จัดให้มีกิจกรรมเพื่อติดตามการดำเนินงานของผู้เข้ารับการอบรมในศูนย์วิจัยข้าวแต่ละแห่ง หลังการอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งที่ 2/2558

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเยี่ยมชมและติดตามการดำเนินงานการพัฒนาพันธุ์ข้าวนาชลประทานที่ได้รับการคัดเลือกด้วยเครื่องหมายโมเลกุล ณ ศูนย์วิจัยข้าวเครือข่ายภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในโครงการวิจัย “การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล (ภายใต้โครงการความร่วมมือการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวนาชลประทานให้ทนต่อน้ำท่วมฉับพลัน ต้านทานโรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก)” โดยมีกำหนดการเดินทางติดตามการดำเนินงาน ณ ศูนย์วิจัยข้าวทั้ง 7 แห่ง  และรายนามผู้ร่วมเดินทางติดตามงานในครั้งนี้

 

สรุปการบรรยาย การอบรมเชิงปฏิบัติการ "การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล ครั้งที่ 4"

ระหว่างวันที่ 1-3 กรกฎาคม 2558 ณ หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จ.นครปฐม

 

 

            ดร.ธีรยุทธ ตู้จินดา ไบโอเทค ได้กล่าวบรรยายในหัวข้อ "การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศอันเนื่องจากโลกร้อนต่อการระบาดของโรค แมลง และสภาพแวดล้อมวิกฤต" ว่า การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศที่เกิดจากภาวะโลกร้อน เช่น อุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น ภาวะน้ำท่วมและฝนแล้ง มีความถี่มากขึ้น ดินเค็มมากขึ้น ความแปรปรวนของฤดูกาล ส่งผลกระทบต่อภาคการเกษตร ทำให้ผลผลิตพืชและข้าวลดลง โดยได้กล่าวสรุปการบรรยายของวิทยากรที่ได้บรรยายในการอบรมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 3 ดังนี้