Print

การฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการในโครงการ “การพัฒนาบุคลากรทางด้านการปรับปรุงพันธุ์โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุล ครั้งที่ 4”

(ภายใต้โครงการความร่วมมือการพัฒนาสายพันธุ์ข้าวนาชลประทานให้ทนต่อน้ำท่วมฉับพลัน ต้านทานโรคขอบใบแห้ง และเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาลโดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลในการคัดเลือก)

ระหว่างวันที่ 1-29 กรกฏาคม พ.ศ. 2558

หน่วยปฏิบัติการค้นหาและใช้ประโยชน์ยีนข้าว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม.

 

 

 

 

 


 ภาพการฝึกอบรมฯ ครั้งที่ 4
 เอกสารดาวน์โหลด
 รายละเอียดการอบรมดังนี้ 

 

วันที่

กิจกรรม/หัวข้อบรรยาย

ผู้รับผิดชอบ

วันอังคารที่ 30 มิถุนายน 2558

เดินทางเข้าพัก

 

ภาคบรรยาย (วันที่ 1-3 กรกฏาคม 2558)

วันพุธที่ 1 กรกฎาคม 2558

 

 

08:30 น. – 09:00 น.

ลงทะเบียน

 

09:00 น. - 09:10 น.

กล่าวต้อนรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม

ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา

(ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ)

09:10 น. - 10:00 น.

การบรรยาย ทบทวนภาคบรรยายในการฝึกอบรม

ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

การบรรยาย หัวข้อ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล: ความสำคัญ ความหลากหลาย และการป้องกันกำจัด

คุณวันทนา ศรีรัตนศักดิ์

(กรมการข้าว)

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

การบรรยาย หัวข้อ เพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล: พันธุศาสตร์ กลไก และความก้าวหน้าของการค้นหายีนต้านทาน

ดร. จิรพงศ์ ใจรินทร์

(กรมการข้าว)

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์วิจัยเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล

ดร. ธีรยุทธ ตู้จินดา

ดร.จิรพงศ์ ใจรินทร์

วันพฤหัสบดีที่ 2 กรกฎาคม 2558

 

 

08:30 น. – 09:00 น.

ลงทะเบียน

 

09:00 น. - 10:00 น.

การบรรยาย หัวข้อ การก่อการกลายพันธุ์ทั้งจีโนมและการใช้ประโยชน์

ดร.ศิริพัฒน์ เรืองพยัคฆ์

(ศูนย์วิทยาศาสตร์ข้าว)

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

การบรรยาย หัวข้อ ผลกระทบของอุณหภูมิสูงต่อสรีรวิทยาของข้าว และการปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนร้อน

ผศ.ดร. ชเนษฎ์ ม้าลำพอง

(ม.เกษตรศาสตร์ กำแพงแสน)

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

การบรรยาย หัวข้อ การพัฒนาข้าวเหล็กสูง โดยใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

ดร.วินิตชาญ รื่นใจชน

(ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ)

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

การบรรยาย หัวข้อ ผลกระทบของสภาวะดินเค็มต่อสรีรวิทยาของข้าว และการปรับปรุงพันธุ์ข้าวทนเค็ม

รศ.ดร. ศุภจิตรา ชัชวาลย์

(จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

 

 

 

 

วันที่

กิจกรรม/หัวข้อบรรยาย

ผู้รับผิดชอบ

วันศุกร์ที่ 3 กรกฎาคม 2558

 

08:30 น. – 09:00 น.

ลงทะเบียน

 

09:00 น. - 10:30 น.

การบรรยาย หัวข้อ ความรู้พื้นฐาน และการค้นหา SNP markers

ดร.สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง

(ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ)

10:30 น. - 11:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

11:00 น. - 12:00 น.

การบรรยาย หัวข้อ SNP marker: การประยุกต์ใช้ในการปรับปรุงพันธุ์พืช

ดร.สิทธิโชค ตั้งภัสสรเรือง

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

การบรรยาย หัวข้อ Quantstudio real-time PCR: หลักการตรวจสอบ SNPs และการออกแบบ probe primers

คุณพรรณทิพา พรตเจริญ

(บริษัทยีนพลัส)

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

สาธิตการใช้และอ่านผลจากเครื่อง Quantstudio real-time PCR

คุณพรรณทิพา พรตเจริญ

(บริษัทยีนพลัส)

                 

 

วันที่

กิจกรรม/หัวข้อบรรยาย

ผู้รับผิดชอบ

ภาคปฏิบัติการ (วันที่ 4 – 29 กรกฎาคม 2558)

วันที่ 4 - 10 กรกฎาคม 2558

08:30 น. - 10:00 น.

การสกัดดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

การสกัดดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

การสกัดดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

การสกัดดีเอ็นเอ

คณะผู้ฝึกอบรม

วันที่ 11 - 17 กรกฎาคม 2558

 

08:30 น. - 10:00 น.

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

การเพิ่มปริมาณดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคพีซีอาร์

คณะผู้ฝึกอบรม

วันที่ 18 - 24 กรกฎาคม 2558

 

08:30 น. - 10:00 น.

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. – 16:00 น.

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

การแยกขนาดดีเอ็นเอเป้าหมายด้วยเทคนิคอิเล็กโตรโฟรีซิส

คณะผู้ฝึกอบรม

วันที่ 25 - 26 กรกฎาคม 2558

 

08:30 น. - 10:00 น.

การตรวจสอบขนาดแถบดีเอ็นเอเป้าหมาย

คณะผู้ฝึกอบรม

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

การตรวจสอบขนาดแถบดีเอ็นเอเป้าหมาย

คณะผู้ฝึกอบรม

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

วิเคราะห์ข้อมูลจีโนไทป์และคัดเลือกตัวอย่าง

คณะผู้ฝึกอบรม

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

วิเคราะห์ข้อมูลจีโนไทป์และคัดเลือกตัวอย่าง

คณะผู้ฝึกอบรม

 

 

 

 

 

วันที่

กิจกรรม/หัวข้อบรรยาย

ผู้รับผิดชอบ

วันที่ 27 - 28 กรกฎาคม 2558

 

08:30 น. - 10:00 น.

เขียนรายงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

เขียนรายงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

เขียนรายงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

เขียนรายงาน

ผู้เข้ารับการอบรม

วันที่ 29 กรกฎาคม 2558

 

08:30 น. - 10:00 น.

นำเสนอความก้าวหน้า

ผู้เข้ารับการอบรม

10:00 น. - 10:30 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

10:30 น. - 12:00 น.

นำเสนอความก้าวหน้า

ผู้เข้ารับการอบรม

12:00 น. - 13:00 น.

รับประทานอาหารกลางวัน

 

13:00 น. - 14:30 น.

ปรับแก้ไขรายงานตามข้อเสนอแนะ

ผู้เข้ารับการอบรม

14:30 น. - 15:00 น.

รับประทานอาหารว่าง

 

15:00 น. - 16:30 น.

ปรับแก้ไขรายงานตามข้อเสนอแนะ

ผู้เข้ารับการอบรม

วันที่ 30 กรกฎาคม 2558

เดินทางกลับ